เลื่อยจิ๊กซอว์ MAKITA 450 วัตต์ รุ่น 4327
คุณสมบัติ
-
เลื่อยจิ๊กซอร์กำลังสูง น้ำหนักเบา
-
มือจับยาง สัมผัสนิ่ม ออกแบบเพื่อการควบคุมเครื่องที่ดี และถนัดมือ
-
ฝาป้องกันฝุ่น ป้องกันรอยขีดข่วน
-
ใช้งานในองศาลาดเอียงได้ถึง 45 องศา
-
ทำงานเงียบ การสั่นสะเทือนต่ำ
-
ใช้ถ่าน CB-64
คุณลักษณะ | สวิสต์ปรับความเร็ว |
คุณลักษณะ | มีฉนวนสองชั้น |
ความยาว | 77 MM(3″) |
ถ่าน | CB-64A |
ความสูง | 197 MM(7-3/4″) |
ความกว้าง | 224 MM(8-7/8″) |
ความยาวช่วงชัก | 18 MM(11/16″) |
สมรรถนะ | ไม้ 65 MM(2-9/16″) |
สมรรถนะ | เหล็ก 6 MM(1/4″) |
น้ำหนักสุทธิ | 1.9 KG(4.2 LBS) |
สารบัญ | POWER TOOLS & ABRASIVES |
กำลังไฟฟ้าที่ใช้ | 450 W |
ความเร็วช่วงชักต่อนาที (SPM) | 500-3,100 SPM |
คุณลักษณะ | มีระบบกำจัดฝุ่น |
ภาพรวม (Product Overview)
เลื่อยจิกซอร์ปรับรอบ MAKITA รุ่น 4327 กำลังไฟ 450 วัตต์ ชนิดของใบเลื่อยแบบ B ตัดไม้หนา 65 มิลลิเมตร มือจับยางมีความนิ่มจับถนัดมือมากขึ้นออกแบบมาเพื่อรอบรับการควบคุมเครื่องได้ดี สามารถปรับความเร็วรอบได้ตั้งแต่ 500 – 3,100 ครั้งต่อนาที ตัวเครื่องมีน้ำหนัก 1.9 กิโลกรัม ใช้กับงานไม้ เหล็ก อลูมิเนียม หรือพลาสติก ขึ้นอยู่กับการใช้งาน และใบตัด มีฉนวน 2 ชั้น ป้องกันอันตรายจากไฟรั่ว
จุดเด่น (Features)
– เลื่อยจิกซอร์ปรับรอบ MAKITA รุ่น 4327 มีน้ำหนักเบา กำลังไฟสูง
– ฉนวนแบบ 2 ชั้น ป้องกันอันตรายจากไฟรั่ว
– ใช้งานได้กับใบตัดได้หลากหลาย
– ฝาถูกออกแบบให้สามารถป้องกันฝุ่นและรอยจากการขีดข่วนได้
– มอเตอร์คุณภาพสูง ทำให้ไม่มีปัญหาเรื่องการระบายความร้อน
– สามารถปรับตามสถานการณ์โดยมีความชันได้ถึง 45 องศา
– เลื่อยจิกซอร์ปรับรอบ MAKITA รุ่น 4327 มีการสั่นสะเทือนต่ำ
– เลื่อยจิกซอร์ปรับรอบ MAKITA รุ่น 4327 ใช้ถ่าน CB-64
อุปกรณ์ทั้งหมดในกล่อง (Products and Accessories)
1. เลื่อยจิกซอร์ปรับรอบ MAKITA รุ่น 4327
2. ใบเลื่อยไม้
3. ประแจหกเหลี่ยม
4. คู่มือการใช้งาน และใบรับประกัน
การใช้งาน (Applications)
เลื่อยจิกซอร์ปรับรอบ MAKITA รุ่น 4327 ใช้งานร่วมกับใบตัดตามการใช้งาน ซึ่งผู้ใช้งานเครื่องมือควรมีอุปกรณ์ป้องกันความปลอดภัย เช่น ถุงมือหนัง แว่นตานิรภัย เป็นต้น เหมาะสำหรับงานตัดไม้ได้หนาถึง 65 มิลลิเมตร และตัดเหล็กได้หนาถึง 6 มิลลิเมตร
ข้อควรปฎิบัติ/ข้อควรระวังในการใช้งาน (Do and Don’t)
– ปลั๊กไฟที่ต่อพ่วงจะต้องมีสภาพที่พร้อมใช้งาน และต้องพอดีกับเต้ารับไฟฟ้าป้องกันการเกิดไฟฟ้าช็อต
– สำรวจพื้นที่ทำงานต้องมีความสะอาด และมีแสงสว่างเพียงพอ ป้องกันการเกิดอุบัติเหตุในการใช้งาน
– พื้นที่ทำงานจะต้องมีอากาศถ่ายเทที่สะดวก
– ผู้ใช้งานเครื่องมือควรมีอุปกรณ์ป้องกันความปลอดภัย เช่น ถุงมือหนัง แว่นตานิรภัย เป็นต้น
– ดูแลไม่ให้มีเด็ก หรือบุคคลอื่นอยู่ในบริเวณที่กำลังใช้เครื่องมือไฟฟ้า
การบำรุงรักษา (Maintenance)
– ใช้งานเสร็จควรถอดปลั๊กทุกครั้ง
– ทำความสะอาดด้วยการใช้ลมเป่าฝุ่นออกจากตัวเครื่อง
– ตรวจเช็คแปลงถ่านว่ายังมีขนาดของความยาวที่เหมาะสมในการใช้งานอยู่หรือไม่
– เช็ดทำความสะอาดด้วยน้ำยาอเนกประสงค์ และเก็บในที่แห้ง